จดโดเมน กับ Asiagb.com ราคาพิเศษสุดๆเริ่มต้นที่ 500/ปี

จดโดเมน
การเลือกจดโดเมนนั้นหลายๆท่านมองว่าที่ไหนก็ได้ขอแค่ราคาถูกที่สุด ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิดมหัน
การเลือกจดโดเมนนั้นสำคัญที่ต้องเลือกที่มั่นใจได้ ไว้ใจได้ เปิดให้บริการมาอย่างยาวนาน
เพราะหากผู้ให้บริการเกิดปิดหนี อาจจะทำให้ท่านเสียโดเมนซึ่งเป็นการบอกแบนด์ หรือ ชื่อบริษัทของท่านไป
ดังนั้น ท่านอย่าเลือกจดโดเมนเพียงแค่ราคาถูกที่สุด เพราะท่านจะเสียใจในภายหลัง
ทางเรารับจดโดเมน ในราคากลางๆไม่แพงมากจนเกิดไป แต่การันตรีได้ว่าโดเมนจะเป็นของท่านแน่นอน
ท่านสามารถย้ายออกเมื่อไหร่ก็ได้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใดๆในบริการทั้งสิ้น สามารถ Gen auth code ได้ด้วยตัวเอง
ที่สำคัญเราแถมฟรี Private whois สำหรับลูกค้าที่ต้องการความเป็นส่วนตัว
.COM
-
FreePrivate Whois
.NET
-
Free Private Whois
.ORG
-
Free Private Whois
.IN.TH
-
ใช้บัตร ปชช ใบเดียว
.CO.TH
-
ใช้เอกสารจัดตังบริษัท 1ใบ
.ASIA
-
FREE Private Whois
ค้นหาชื่อโดเมนสวยๆ ที่ต้องการได้เลย

Domain Locking
จดโดเมน กับเราวันนี้ ฟรี Lock Domain เพื่อความปลอดภัยมากยิ่ิงขึ้นกับโดเมนที่ท่านรัก

Easy Management
ระบบจัดการโดเมนที่ใช้งานง่ายมากๆ เมนูเข้าใจง่ายและตรงตัว ไม่ต้องปวดหัวกับระบบวุ่นวายอีกต่อไป

Private Domain
สำหรับท่านที่ต้องการความเป็นส่วนตัว ไม่อยากให้ใครรู้ว่าโดเมนเป็นของท่าน เรามีบริการ ฟรี Private whois
การจดโดเมน .TH นั้นจำเป็นต้องใช้เอกสาร ลูกค้าสามารถส่งเอกสารมาได้ที่ admin@injan-network.com
สอบถามเพิ่มเติม โทร 065-449-9691
- .in.th ( สำหรับบุคคลทั่วไป, หน่วยงาน, หรือองค์กรต่างๆ )เอกสารที่ใช้ประกอบการจดทะเบียนโดเมนเนมภายใต้ .in.th นั้น สามารถพิจารณาได้เป็น 2 แบบ
แบบที่หนึ่ง : จดทะเบียนโดเมนเนมในนามองค์กรเอกสาร: (ใช้อย่างใดอย่างหนึ่ง)
- หนังสือรับรองบริษัท – (
ตัวอย่าง)
- ใบ ภ.พ.20 (ภาษีมูลค่าเพิ่ม) – (
ตัวอย่าง)
- ใบท.ค.0401 (ทะเบียนการค้า)
แบบที่สอง : จดทะเบียนโดเมนเนมในนามบุคคลเอกสาร: (ใช้อย่างใดอย่างหนึ่ง)- สำเนาบัตรประชาชน
- สำเนาใบขับขี่
- หนังสืออนุญาตประกอบอาชีพของคนต่างด้าว
- ในกรณีที่เป็นเยาวชน (อายุยังไม่ครบ 15 ปีบริบูรณ์) ให้ใช้สำเนาบัตรประชาชนของผู้ปกครองแทน โดยเขียนระบุลงในสำเนาด้วยว่า เพื่อจดทะเบียนโดเมนให้ ด.ช./ด.ญ. ……….. และเมื่ออายุครบ 15 ปีบริบูรณ์แล้ว สามารถส่งสำเนาบัตรประชาชนมาให้เรา เพื่อขอเปลี่ยนชื่อผู้ถือครองโดเมนเนม เป็นชื่อของคุณเองได้
- หนังสือรับรองบริษัท – (
-
- .co.th ( สำหรับการพาณิชย์และธุรกิจ ) ผู้สมัครขอจดทะเบียนชื่อโดเมนภายใต้หมวดหมู่นี้ จะต้องเป็นองค์กรพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศไทย หรือบริษัทต่างประเทศที่มีตัวแทนอยู่ในประเทศไทย และตัวแทนนั้น จะต้องจดทะเบียนในประเทศไทย และได้รับการโอนสิทธิ ในการจดทะเบียนชื่อโดเมนจากบริษัทแม่ในต่างประเทศเป็นที่เรียบร้อยเอกสารที่ใช้ประกอบการจดทะเบียนโดเมนเนมภายใต้ .co.th นั้น สามารถพิจารณาได้เป็น 2 แบบ
แบบที่หนึ่ง : คือจดทะเบียนโดเมนเนมโดยพิจารณาจากชื่อองค์กร
- ชื่อโดเมนเนมจำเป็นต้องสอดคล้อง, เป็นส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือย่อมากจากชื่อองค์กรได้
- หนึ่งองค์กรสามารถจดทะเบียนโดเมนเนมได้เพียง 1 ชื่อเท่านั้น
- องค์กรที่จดทะเบียนในประเทศไทย
เอกสาร: (ใช้อย่างใดอย่างหนึ่ง)
- หนังสือรับรองบริษัท – (
ตัวอย่าง)
- เอกสาร ท.ค.0401 หรือ พ.ค.0401 (ทะเบียนการค้า)
- ใบ ภ.พ.20 (ภาษีมูลค่าเพิ่ม) – (
ตัวอย่าง)
- ใบ ภ.พ.01 (ใช้สำหรับยืนยันชื่อภาษาอังกฤษของบริษัท และต้องมีการเซ็นต์รับรองจากเจ้าหน้าที่)
- ใบ ภ.พ.09 (ใช้สำหรับแสดงการเปลี่ยนแปลงชื่อของบริษัทเท่านั้น)
- หนังสือรับรองบริษัท – (
- องค์กรต่างประเทศ จะต้องมีตัวแทนที่จดทะเบียนบริษัทในประเทศไทย
เอกสาร: (ต้องใช้ทั้งหมด 3 รายการ)1. หนังสือรับรองบริษัทต่างประเทศ2. หนังสือรับรองบริษัทตัวแทนที่จดทะเบียนบริษัทในประเทศไทย3. หนังสือรับรองที่รับรองโดยบริษัทต่างประเทศ ซึ่งมีใจความสำคัญ 2 ใจความ (
ตัวอย่าง)
– รับรองบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทยเป็นบริษัทตัวแทน– รับรองการอนุญาตใช้ชื่อองค์กรต่างประเทศในการจดทะเบียนโดเมนเนม ในชื่อ XXX.CO.TH
แบบที่สอง : คือจดทะเบียนโดเมนเนมโดยพิจารณาจากเครื่องหมายการค้า/เครื่องหมายบริการ- ชื่อโดเมนเนมจำเป็นต้องตรงกับเครื่องหมายการค้า/เครื่องหมายบริการทุกตัวอักษร
- องค์กรที่มีเครื่องหมายการค้ามากกว่า 1 ตัว สามารถจดชื่อโดเมน .co.th ได้ตามจำนวนเครื่องหมายการค้านั้น
- เครื่องหมายการค้า/เครื่องหมายบริการที่จดทะเบียนในประเทศไทย
เอกสาร:1.1. หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า หรือ หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องหมายบริการ ที่ถูกจดทะเบียนและประกาศรับรองโดย กรมทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศไทย
- เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนในต่างประเทศ จะต้องมีตัวแทนที่จดทะเบียนบริษัทในประเทศไทย
เอกสาร: (ต้องใช้ทั้งหมด 3 รายการ)1. หนังสือรับรองบริษัทต่างประเทศ2. หนังสือรับรองบริษัทตัวแทนที่จดทะเบียนบริษัทในประเทศไทย3. หนังสือรับรองที่รับรองโดยบริษัทต่างประเทศ ซึ่งมีใจความสำคัญ 2 ใจความ– รับรองบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทยเป็นบริษัทตัวแทน– รับรองการอนุญาตใช้ชื่อองค์กรต่างประเทศในการจดทะเบียนโดเมนเนม ในชื่อ XXX.CO.TH
- .co.th ( สำหรับการพาณิชย์และธุรกิจ ) ผู้สมัครขอจดทะเบียนชื่อโดเมนภายใต้หมวดหมู่นี้ จะต้องเป็นองค์กรพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศไทย หรือบริษัทต่างประเทศที่มีตัวแทนอยู่ในประเทศไทย และตัวแทนนั้น จะต้องจดทะเบียนในประเทศไทย และได้รับการโอนสิทธิ ในการจดทะเบียนชื่อโดเมนจากบริษัทแม่ในต่างประเทศเป็นที่เรียบร้อยเอกสารที่ใช้ประกอบการจดทะเบียนโดเมนเนมภายใต้ .co.th นั้น สามารถพิจารณาได้เป็น 2 แบบ
-
- .ac.th ( สำหรับสถาบันการศึกษา ที่จดทะเบียนในประเทศไทย )
- หนังสือจัดตั้งโรงเรียน ที่เซ็นรับรองโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ – (
ตัวอย่าง)
- กรณีที่ไม่สามารถแสดงหนังสือจัดตั้งโรงเรียนได้นั้น ให้ทางโรงเรียนออกหนังสือรับรอง หน่วยงานที่สังกัด ที่ตั้งของโรงเรียน และรับรองการขอจดทะเบียนโดเมนเนม พร้อมทั้งประทับตราและเซ็นต์รับรองโดย ท่านผู้อำนวยการของทางโรงเรียน (
ตัวอย่าง)
- หนังสือจัดตั้งโรงเรียน ที่เซ็นรับรองโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ – (
- .ac.th ( สำหรับสถาบันการศึกษา ที่จดทะเบียนในประเทศไทย )
- หนังสือที่ทางหน่วยงานแจ้งชื่อโดเมนเนม .go.th ให้ทาง ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer : CIO) ของกระทรวง/กรมต้นสังกัด รับทราบ
- ตัวอย่างเอกสารจากหน่วยงานถึงCIO
-
- .or.th ( สำหรับองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร )
- หนังสือจัดตั้งองค์กร เช่น หนังสือจัดตั้งสมาคม หรือ หนังสือจัดตั้งมูลนิธิ เป็นต้น
- กรณีที่ไม่สามารถแสดงหนังสือจัดตั้งองค์กรได้นั้น ใช้หนังสือซึ่งประกอบด้วย ประธาน, คณะกรรมการ, จุดประสงค์ที่เด่นชัด, ที่อยู่ที่แน่นอน และมีหน่วยงานที่เป็นที่รู้จักรับรองว่า มีหน่วยงานของท่านอยู่จริง
- .or.th ( สำหรับองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร )
- .mi.th ( สำหรับหน่วยงานทางทหาร )
- หนังสือรับรองจากกรมการสื่อสารทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย อนุญาตให้หน่วยงานภายใต้สังกัดและหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของกองบัญชาการกองทัพไทย จดทะเบียนชื่อ โดเมนภายใต้ .mi.th ได้
- .mi.th ( สำหรับหน่วยงานทางทหาร )
- .net.th ( สำหรับนิติบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมทั้ง 3 แบบ ตาม พระราชบัญญัติ การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ )
- หนังสือจัดตั้งองค์กร เช่น หนังสือจัดตั้งสมาคม หรือ หนังสือจัดตั้งมูลนิธิ เป็นต้น
- กรณีที่ไม่สามารถแสดงหนังสือจัดตั้งองค์กรได้นั้น ใช้หนังสือซึ่งประกอบด้วย ประธาน, คณะกรรมการ, จุดประสงค์ที่เด่นชัด, ที่อยู่ที่แน่นอน และมีหน่วยงานที่เป็นที่รู้จักรับรองว่า มีหน่วยงานของท่านอยู่จริง
ผู้ให้บริการครบวงจร ตลอดระยะเวลา 10 ปี